วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2559

เฉลย

เฉลย
1. เฉลย ตัวเลือกที่ 2 : โปรตีน เพราะ โปรตีนเป็นองค์ประกอบเกือบทุกส่วน เช่นกล้ามเนื้อ เลือด ผม เล็บ และกระดูกโปรตีนเป็นสารอินทรีย์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก มีหน่วยโครงสร้างที่เล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน
2.เฉลย  2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐเพราะ สารละลายเบเนดิกต์นำมาใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวโดยจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็ตะกอนสีแดงอิฐ น้ำองุ่น น้ำผึ้ง และน้ำแอปเปิล มีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
 3.เฉลย ข้อ 3. คาร์บอนมอนอกไซด์เพราะก๊าซเรือนกระจกได้แก่คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน , CFC และไนตรัสออกไซด์ซึ่งไนตรัสออกไซด์จัดเป็นออกไซด์ของไนโตรเจนชนิดหนึ่ง ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่แก๊สเรือนกระจกคือคาร์บอนมอน
4.เฉลย ตอบ ข้อ 3) กรดไลโนเลนิกเพราะ กรดไขมันที่สามารถทําปฏิกิริยากับไอโอดีนไดมากที่สุดตองเปนกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว ซึ่งกรดไลโนเลนิกเปนกรดไขมันไมอิ่มตัวที่สุด เนื่องจากมีพันธะคูมากที่สุดและจุดหลอมเหลวต่ําที่สุด
5. เฉลย  4. ถ่านกัมมันต์ เหตุผล  เชื้อเพลิงฟอสซิล เกิดจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันนับล้านปีใต้ท้องทะเลหรือพื้นดินลึก ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
6.  เฉลย  ข้อ 4. repairเหตุผล  จากหลัก 5R—-> Repair คือ การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆให้สามารถใช้งานต่อได้
7. เฉลย 4) กรดนิวคลิอิกทำหน้าที่เก็บและถ่ายข้อมูลทางพันธุกรรมมีหน่วยย่อยเรียกว่า นิวคลีโอไทด์ ซึ่งกรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด คือ – RNA   – DNA
8.เฉลย คือ 1.เพราะน้ำมันมะพร้าวประะกอบด้วย กรดไขมันอิ่มตัวเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งไม่เกิดการเติมออกซิเจน ดังนั้นหากสกัดอย่างถูกวิธี จะไม่เหม็นหืน
9. เฉลย ค. คอเลสเทอรอล เพราะ Cholesterol เป็นกลุ่มไขมันที่เป็นสาร ไม่มีสีไม่มีกลิ่น และไม่ละลายน้ำ Cholesterol เป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิต เนื่องจากร่างกายต้องใช้เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างของผนังเซลล์ และเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของฮอร์โมน
10. เฉลย ข้อ 3เพราะ ข้อ 1. น้ำมันเบนซินมีจุดเดือด 250 -340 องศาเซลเซียส
ข้อ 2 ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดไม่ละลายน้ำเพราะไม่มีขั้ว     ข้อ 4 จำนวนคาร์บอนของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมี คือ 6-12
11. เฉลย  ข้อ 4 เพราะ ลินิน เซลลูโลส ยางพารา ไคติน ไกลโคเจน แป้ง โปรตีน และกรดนิวคลีอิก เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ ส่วนไนลอน พีวีซี นีโอพรีน ซิลิโคน เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์
12 เฉลย ข้อ 4  CH3-(C12H24)-CO2H เป็นกรดไขมันอิ่มตัว    CH3-(C14H26)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 1 พันธะคู่       CH3-(C16H26)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 2 พันธะคู่          CH3-(C18H24)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 3พันธะคู่ (ยิ่งพันธะคู่มากยิ่งเหม็นหืนมาก)
13. เฉลย  ข้อ 3.ค และ ง   เหตุผลเพราะ(ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น   (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล  (ค) ถูก     (ง) ถูก
14. เฉลย ข้อ 4 เพราะ น้ำมันพืชแม้จะเป็นไขมันที่เหมาะกับการประกอบอาอารแต่ต้องมีการเติมวิตามินอีหรือสารบางชนิดลงไปก่อน
15. เฉลย ข้อ 4 เพราะโปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 แคลลอรี่
16.เฉลย  ข้อ 5 ) ตอบ 1เหตุผล     •สารพันธุกรรม (DNA) เป็นสารพวกกรดนิวคลีอิก เป็นพอลิเมอร์ที่มีหน่วยย่อยเป็น นิวคลีโอไทด์ โดยนิวคลีโอไมด์ 1 โมเลกุลประกอบด้วย– น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม น้ำตาลดีออกซีไรโบส
– หมู่ฟอสเฟต (PO43-)– ไนโตรจีนัสเบส (พิวรีน A , G) (ไพริมิดีน T , C)ดังนั้นข้อที่ไม่ใช่องค์ประกอบของดีเอ็นเอ คือ กรดอะมิโน
17. เฉลย   ข้อ 2. ผักบุ้งผัดน้ำมันมีสารชีวโมเลกุลคือ ไขมันแกงจืดเต้าหู้หมูสับ มีสารชีวโมเลกุลคือ โปรตีนที่ได้จากเต้าหู้และหมูสับข้าว มีสารชีวะโมเลกุลคือ คาร์โบไฮเดรต
18. เฉลย  ค.เพราะ น้ำมันไม่มีขั้วเลยหันไปจับกับน้ำยาล้างจานที่ไม่มีหันเหมือนกัน และปนออกมากับน้ำในรูปอิมันชั่น
19. เฉลย ก. เพราะ สารละลาย CuSO4/NaOH สภาพเป็นเบส ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้โปรตีนเปลี่ยนสภาพได้
20.เฉลย   2 โปรตีนจากแหล่งอาหารที่ร่างกายสามารถนำไปสร้างเนื้อเยื่อได้ 100 % กล่าวได้ว่าโปรตีนนั้นมีคุณค่าทางชีววิทยาเป็น 100
21. เฉลย  4. เพราะ เทอร์มอพลาสติกเป็นพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนแล้วจะหลอมเหลวและจะกลับมาแข็งตัวใหม่อีกครั้งเมื่อเย็นลง ส่วนพลาสติกเทอร์มอเซตเป็นพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนที่สูงมากเกินไปจะแตกและหัก ไม่สามารถคืนรูปได้ ดังนั้น จึงใช้การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อนเป็นเกทฑ์ในการแยกพลาสติกทั้ง 2 ประเภทนี้
22. เฉลย ข้อ 4 )เหตุผล การสังเคราะห์โปรตีนจำเป็นต้องอาศัย
• DNA และ RNA ดังนั้นเซลล์ที่จะสังเคราะห์โปรตีนได้ต้องเป็นเซลล์ที่มีทั้ง DNA และ RNA ในเซลล์แบคทีเรียมีทั้ง DNA และ RNA เพียงแต่ไม่พบเยื่อหุ้มนิวเคลียสเพราะเป็นเซลล์แบบโพรคาริโอตยีสต์เป็นฟังไจ เซลล์เป็นยูคาริโอต มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสทั้ง DNA และ RNAราเป็นฟังไจ เซลล์เป็นยูคาริโอต มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสทั้ง DNA และ RNAไวรัสมีเฉพาะสารพันธุกรรมและมีอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจเป็น DNA หรือ RNA ก็ได้
23. เฉลย  ข้อ 1 เมื่อสลายกลูโคสจนได้ acetyI CoA และ acetyI CoA สามารถจะเข้าสู่วงจรการหายใจหรือนําไปสร้างเป็นกรดไขมันและสร้างเป็นไขมันสะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น adipose tissue ตามหน้าท้องขาอ่อนเป็นต้น
24. เฉลย ข้อ 2แนวคิด ข้อ 1. ผิด เพราะเพชรแท้เป็นพวกโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย ขณะที่ซิลิกอนเป็นธาตุกึ่งโลหะ
ข้อ 2. ถูก เพราะทั้งคลอรีนและโบรมีนจะเกิดโมเลกุลโคเลเลนต์ที่ยึดกันด้วยพันธะเดี่ยว
ข้อ 3. ผิด เพราะออกซิเจนเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์พันธะคู่ ส่วนไนโตรเจนเป็นโมเลกุลโคเวเลพันธะสาม
ข้อ 4. ผิด เพราะถ่านไม้เป็นพวกไม่มีรูปร่าง (อสัณฐาน) ส่วนแกรไฟต์จะเป็นพวกโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย
25. เฉลย ข้อ 5 ไขมันหรือน้ำมัน ที่มีค่าไอโอดีนนัมเบอร์สูงแสดงว่า ไขมัน หรือน้ำมันนั้น
มีความไม่อิ่มตัวสูง นั่นคือ คือ มีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวมาก
26. เฉลย (4) พลังงานที่สะสมอยู่ในอาหาร คือ พลังงานเคมี สารอาหารที่รับประทานเข้าไปต้องผ่านการย่อยให้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดก่อนร่างกายจึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากที่สุด และในร่างกายจะมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบมากที่สุด
27. เฉลย 1. เพราะ
แป้ง —A—> มอลโทส —B—> C
สาร A เป็นเอนไซม์ อะไมเลส ทําการย่อยแป้งให้เปลี่ยนเป็นน้ำตาลมอลโทส
สาร B เป็นเอนไซม์ มอลโทส ทําการย่อย มอลโทส ให้เปลี่ยนเป็น กลูโคส หรือสาร C
28. เฉลย ข. เพราะโปรตีนสามารถถูกทำให้เสียสภาพ โดยการใช้อุณหภูมิ
(ตัวเลือก3.ผิด)หรือการทำปฎิกริยากับกรด ซึ่งในที่นี้คือ กรด อยู่ในกระเพาะอาหาร(ตัวเลือก1.ผิด) และนํ้ามะนาว (ตัวเลือก4ผิด)
29. เฉลย 1 เพราะ สารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตในเบสจะทำปฏิกิริยากับโปรตีน โดยคอปเปอร์ (II) ไอออน จะไปจับกับไนโตรเจนของพันธะเพปไทด์ เกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนที่เป็นของแข็งสีน้ำเงินม่วง โปรตีนจึงมีการแปลงสภาพไป
30. เฉลย ข้อ 1เหตุผลเพราะ
ข้อ ค. ผิด ควรเปลี่ยนเป็นคนที่เป็นโรคเบาหวานแสดงว่า ร่างกายขาดอินซูลินซึ่งอินซูลินจะเป็นตัวเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกลโคเจน ทำให้กลูโคสมีปริมาณมากเกินไป ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเบาหวาน
ข้อ ง. ผิด ควรเปลี่ยนเป็นคนที่เป็นโรคเบาหวานควรลดอาหารประเภทแป้ง
31. เฉลย: ข้อ 3.ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย
เพราะ ข้อ 1. ผิด เนื่องจากไกลโคเจนละลายน้ำ ส่วนเซลลูโลสไม่ละลายน้ำ
ข้อ 2. ผิด เนื่องจากมอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมลกุล
ข้อ 3. ถูก เนื่องจากพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสจะเป็นแบบควบแน่นน้ำด้วย
ข้อ 4. ผิด เนื่องจากฟรักโทสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม มี่สูตร C6H12O6
ส่วนไรโบสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม มีสูตร C5H10O5
32. เฉลย  2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐเพราะ สารละลายเบเนดิกต์นำมาใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โดยจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นตะกอนสีแดงอิฐ น้ำองุ่น น้ำผึ้ง และน้ำแอปเปิล มีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็นองค์ประกอบจึงสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ ส่วนน้ำแป้งเป็นพอลิแซ็กคาไรด์ซึ่งจะไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์
33. เฉลย 4 เพราะ น้ำมันพืชแม้จะเป็นไขมันที่เหมาะกับการประกอบอาหารแต่ต้องมีการเติมวิตามินอีหรือสารบางชนิดลงไปก่อน
34.  เฉลย ก. เพราะ กรดอะมิโนที่จำเป็นสำหรับมนุษย์มีด้วยกัน 8 ชนิด ได้แก่ ไอโซลิวซีน ลิวซีน ไลซีน เมไทโอนีน ฟีนิลอะลานีน ทรีโอนีน ทริปโตเฟน และวาลีน แต่เด็กต้องการกรดอะมิโนอีกสองชนิด คือ อาร์จีนีนและฮีสทิดีน
35. เฉลย ข้อ 2แนวคิด ข้อ 1. ผิด เพราะเพชรแท้เป็นพวกโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย ขณะที่ซิลิกอนเป็นธาตุกึ่งโลหะ
ข้อ 2. ถูก เพราะทั้งคลอรีนและโบรมีนจะเกิดโมเลกุลโคเลเลนต์ที่ยึดกันด้วยพันธะเดี่ยว
ข้อ 3. ผิด เพราะออกซิเจนเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์พันธะคู่ส่วนไนโตรเจนเป็นโมเลกุลโคเวลพันธะสาม
ข้อ 4. ผิด เพราะถ่านไม้เป็นพวกไม่มีรูปร่าง (อสัณฐาน) ส่วนแกรไฟต์จะเป็นพวกโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย
36. เฉลย   4.กรดนิวคลีอิกเพราะกรดนิวคลีอิกเป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ ที่ต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ นั่นก็คือกรดอะมิโนที่ต่างชนิดกันต่อกัน คือเกิดจากมอนอเมอร์หลายชนิดต่อกัน
37.เฉลย ตัวเลือกที่ 2 : โปรตีน เพราะ โปรตีนเป็นองค์ประกอบเกือบทุกส่วน เช่น กล้ามเนื้อ เลือด ผม เล็บ และกระดูกโปรตีนเป็นสารอินทรีย์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก มีหน่วยโครงสร้างที่เล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน
38. เฉลย ข้อ 3) กรดไลโนเลนิก
เพราะ กรดไขมันที่สามารถทําปฏิกิริยากับไอโอดีนไดมากที่สุด ตองเปนกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว ซึ่งกรดไลโนเลนิกเปนกรดไขมันไมอิ่มตัวที่สุด เนื่องจากมีพันธะคูมากที่สุดและจุดหลอมเหลวต่ำที่สุด
39. เฉลยข้อ 3   ข้อ 1. ผิด เนื่องจากไกลโคเจนละลายน้ำ ส่วนเซลลูโลสไม่ละลายน้ำ
ข้อ 2. ผิด เนื่องจากมอลเทสเป็นเอนไซมที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมเลกุล
ข้อ 3. ถูก เนื่องจากพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสจะเป็นแบบควบแน่นน้ำด้วยดังสมการ
n C6 H12 O6 ——-> (C6 H10 O5)n + n H2 O
ข้อ 4. ผิด เนื่องจากฟรักโทสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม มีสูตร C6 H12 O6 ส่วนไรโบสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม มีสูตร C5 H10 O5
40.เฉลย  ก. เพราะแป้งเป็นพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบเส้นและแบบกิ่ง ส่วนพอลิเมอร์ตัวอื่นที่กำหนดมาเป็นแบบเส้นทั้งหมด
41. เฉลย ข้อ3 เพราะ 1.ผิด เนื่องจาก น้ำตาลนำมาต้มและเพิ่มสารละลายเบเนดิกต์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง และไม่มีการเติม HCI จะไม่เกิดการไฮโดรไลส์
2.ผิด เนื่องจาก นำตาลทรายเมื่อเกิดการไฮโรไลส์จะได้โมเลกุลเล็ก คือ กลูโคสและ ฟรักโทส
3.ถูก เนื่องจาก การใช้กลูโคส 1 กรัม จะเกิดตะกอนสีส้มแดงได้มากที่สุด
4.ผิด เนื่องจาก หลอดที่2 เป็นน้ำตาลทรายซึ่งเมื่อละลายตัวได้กลูโคสและฟักโทสจะมีปริมาณมากกว่า 1 กรัม อาจน่าจะเกิดตะกอนมากกว่าการใช้กลูโคส
42. เฉลย  1   แก๊สโซฮอร์ซึ่งมีเอทานอลเป็นองค์ประกอบจะให้พลังงานจากการเผาไหม้น้อยกว่าน้ำมันเบนซินทำให้มีการสิ้นเปลืองมากกว่าจะวิ่งได้ระยะทางน้อยกว่าการใช้เบนซินในปริมาณที่เท่ากันแต่แก๊สโซฮอร์จะมีค่าออกเทนสูงกว่าทำให้เครื่องยนต์ทำงานได้ดีกว่า
43. เฉลย ข้อ 1
ข้อ 1. ถูกต้อง เนื่องจาก C4H10 เป็นโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวชนิดแรกที่สามารถเกิดไอโซเมอร์ได้
ข้อ 2. ผิด เนื่องจากสารไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวจะมีโครงร่างแบบโซ่ตรง หรือโซ่กิ่งได้ต้องมีคาร์บอน 4 อะตอมขึ้นไปไม่ใช่ทุกตัว
ข้อ 3. ผิด เนื่องจากน้ำมันแก๊สโซฮอล์ให้พลังงานน้อยกว่าน้ำมันเบนซิน
ข้อ 4. ผิด เนื่องจากค่าออกเทนจะบอกถึงประสิทธิภาพของการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ซึ่งค่าออกเทนสูงจะมีประสิทธิภาพดีกว่า
44. เฉลย ข้อ 4 จากข้อมูลจะบอกได้ว่าเป็นพลาสติกชนิดพอลิไวพิลคลอไรด์ ซึ่งเกิดจากมอนอเมอร์ไวนิลคลอไรด์ เป็นพลาสติกคืนรูปจะหลอกและอ่อนตัวเมื่อเผาไหม้จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์
45. เฉลย   4. ข. ค. และ ง.
แนวคิด ข้อ ก. ผิด เนื่องจากกรดไขมันส่วนมากในร่างกายเป็นกรดไขมันอิ่มตัว
ข้อ ข. ถูกต้อง เนื่องจากน้ำมันพืชโดยปกติจะเป็นกรดไขมันประเภทไม่อิ่มตัวเป็นส่วนมาก ทำให้ กลิ่นเหม็นหืน แต่จะมีวิตามิน E ช่วยยับยั้งการเกิดกลิ่น
ข้อ ค. ถูกต้อง เนื่องจากจะเกิดสารที่มีอนุมูลอิสระก่อให้เกิดมะเร็ง
ข้อ ง. ถูกต้อง เนื่องจากอาหารที่มีคอเรสเทอรอลสูง จะไปทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือด ทั้งในส่วนของหัวใจและสมอง
46.เฉลย  ข้อ3 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นสารอินทรีย์ประเภทหนึ่งซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน และไฮโดรเจนเป็นหลัก ได้แก่ แอลเคน แอลคีน และแอลไคน์
47. เฉลย ข้อ 5 ไขมันหรือน้ำมัน ที่มีค่าไอโอดีนนัมเบอร์สูงแสดงว่า ไขมัน หรือน้ำมันนั้น
มีความไม่อิ่มตัวสูง นั่นคือ คือ มีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวมาก
48. เฉลย  2. คารโบไฮเดรตชวยใหการเผาไหมไขมันเป็นไปอยางสมบูรณ
49. เฉลย   (3) ชนิดของมอนอแซ็กคาไรดที่เปนองคประกอบคำอธิบาย : แปงและเซลลูโลส เกิดจากกลูโคสจํานวนมากมารวมกัน โดยแปงเปนแหลงพลังงานใหรางกาย สวนเซลลูโลสรางกายคนยอยสลายไมได แตจะชวยกระตุนใหลําไสใหญเคลื่อนไหวมีประโยชนตอระบบขับถาย
50. เฉลย    ข้อ 2.
ข้อ ก. ผิดเนื่องจากอีพอกซีจะเป็นพลาสติกเทอร์มอเซต        ข้อ ข. ถูกต้อง
ข้อ ค. ถูกต้อง เนื่องจากซิลิโคนเกิดจาก SiO2 รวมกับอัลคิลคลอไรด์ (RCl) จะได้สารที่เป็นมอนอเมอร์          ข้อ ง. ถูกต้อง เนื่องจากยางธรรมชาติ และยางเทียม IR (Isoprene rubber) ต่างมีไอโซปรีนเป็นสารตั้งต้นเหมือนกัน
51.เฉลย  2 พอลิบิวตาไดอีน มีมอนอเมอร์ คือ บิวตาไดอีน ส่วนนีโอพรีน มีมอนอเมอร์ คือ คลอโรบิวตาไดอีน จึงเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม ยางเอสบีอาร์ มีมอนอเมอร์ คือ สไตอีนและบิวตาไดอีน ส่วนยางเอบีเอส มีมอนอเมอร์ คือ อะคริโลไนไตรล์ สไตรีน และบิวตาไดอีน จึงเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
52.  เฉลย  ข้อ 1. เพราะน้ำมันหล่อลื่นนำมาใช้ทำเครื่อง เทียนไข และแว็ก แก๊สปิโตรเลียมนำมาใช้เป็นแก๊สหุงต้ม แก๊สโซลีนนำมาใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ และน้ำมันเชื้อเพลิงนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงของเครื่องจักรและเรือ
53. เฉลย ง.น้ำมันกับแก๊สธรรมชาติ เพราะ ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบรวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียมแบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติโดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม
54. เฉลย  คือตอบข้อ 4. ถ่านกัมมันต์ เหตุผล เพราะเชื้อเพลิงฟอสซิล เกิดจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันนับหลายล้านปีใต้ท้องทะเลหรือพื้นดินลึก ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล คือ ถ่านกัมมันต์ซึ่งเป็นถ่านที่ได้จากการนำไม้หรือวัสดุใกล้เคียงอื่นๆ เช่น กะลามะพร้าวมาผ่านกระบวนการคาร์บอไนช์โดยการเผาและอัดแรงดันที่อุณหภูมิสูงๆทำให้ได้ถ่านที่มีความพรุนสูงมาก
55. เฉลย ข้อ 1 เพราะน้ำมันที่มีจำนวนอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุลน้อยจะมีจุดเดือดต่ำ
56.เฉลย   ค. เอทานอลกับน้ำมันเบนซินเหตุผล ก๊าซโซฮอล์ (gasohol) เป็นเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมระหว่างเอทานอล หรือที่เรียกว่า เอทิลแอลกอฮอล์ เป็นแอลกอฮอล์บริสุทธฺ์ 99.5% โดยปริมาตรผสมกับน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วออกเทน 91 ในอัตราส่วนเบนซิน 9 ส่วน เอทานอล 1 ส่วน จึงได้เป็นน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ออกเทน 95
57. เฉลย ค.เรยอน เพราะ เป็นเส้นใยที่ได้จากการนำสารจากธรรมชาติ มาปรับปรุงโครงสร้างให้เหมาะกับการใช้งาน เช่น การนำเซลลูโลสจากพืชมาทำปฏิกิริยากับสารเคมีบางชนิด เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ นำมาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าเส้นใยธรรมชาติ ตัวอย่างเส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เช่น วิสคอสเรยอง แบมเบอร์กเรยอง เป็นต้น
58. เฉลย ตอบ ข้อ 1. เพราะ นิวเคลียสของอะตอมนั้นจะประกอบไปด้วยโปรตอนที่มีประจุบวก และนิวตรอนที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จึงทำให้แรงไฟฟ้ามีอิทธิพลน้อยมากภายในนิวเคลียส และด้วยมวลของโปรตอนและนิวตรอนที่มีน้อยมาก ทำให้แรงดึงดูดระหว่างมวลไม่มีผล เพราะฉะนั้นแรงที่ทำหน้าที่ยึดโปรตอนกับนิวตรอนไว้ภายในนิวเคลียสนั้นก็คือแรงนิวเคลียร์เพียงอย่างเดียว
59. เฉลย : ง.ถูกทุกข้อ พอลิเมอร์สังเคราะห์ในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเกือบทุกชนิด พอลิเมอร์มีการใช้ในการยึดเกาะและการหล่อลื่นอย่างกว้างขวาง
60. เฉลย: 3. ข้อ ก และ ค เพราะ
ข.(ผิด) เนื่องจาก พลาสติกเทอร์โมเซต เมื่อได้รับความร้อนมักจะเสื่อมสภาพ โดยไม่
สามารถอ่อนตัวหรือหลอมได้ใหม่ เพราะเป็นโพลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบร่างแห
ดังนั้น ข้อ ก และ ค จึงถูกต้อง
61. เฉลย เนื่องจากสัญลักษณที่โจทยกําหนดมาใหเป็นสัญลักษณของวัสดุที่สามารถนํากลับมารีไซเคิลใชงานไดใหมซึ่งขวดพลา
62. เฉลย  ค เพราะ รีไซเคิลไม่ได้เราจึงต้องน้ำกลับมาใช้ใหม่
63. เฉลย 2 เหตุผล ยางวัลคาไนซ์มีการเติมซัลเฟอร์เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ
64. เฉลยข้อ 1. – พลาสติกที่ใช้ทำกล่องใส่โฟมใส่อาหาร คือ พอลิสไตรีน จัดเป็นพวกเทอร์โมพลาสติกเมื่อถูกเผาไหม้จะมี  เขม่ามากและมีควันกลิ่นคล้ายแก๊สจุดตะเกียง    – ยางยืดรัดของเป็นพอลิเมอร์ที่มีความยืดหยุ่นและเหนียวไม่สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้เมื่อถูกเผาไหม้จะมีเขม่ามาก  และมีควันดำ
65. เฉลย ข้อ 3 พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบกิ่งจะมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำ มีความยืดหยุ่น ความเหนียวต่ำ เมื่อร้อนจะอ่อนตัวและเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบเส้นจะมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุ่น และเหนียว ส่วนพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบร่างแหจะมีความแข็งแกร่ง แต่เปราะ
66. เฉลย ข้อ ค. พอลิโพรพิลีน เพราะ พอลิโพรพิลีน (Polypropylene: PP) เป็นพลาสติกที่ไอน้ำซึมผ่านได้เล็กน้อย แข็งกว่าพอลิเอทิลีนทนต่อสารไขมันและความร้อนสูงใช้ทำแผ่นพลาสติถุงพลาสติกบรรจุอาหารที่ทนร้อน หลอดดูดพลาสติก
67. เฉลย: 1. ไอโซพรีน ยางพารา เพราะ ไอโซพรีนเป็นหน่วยย่อยของยางพารา
พอลิเมอร์คือสารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโควาเลนต์ ส่วนมอนอเมอร์คือหน่วยเล็กๆ ของสารในพอลิเมอร์
68. เฉลย ค.
69.เฉลย ก.วิตามินเอ  
70. เฉลย ก.แป้ง
71.เฉลย ข.ไตรกลีเซอไรด์กับโซดาไฟ
72.  เฉลย ก.ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
73. เฉลย ค.ชนิดของธาตุพื้นฐานสำคัญที่เป็นองค์ประกอบ
74. เฉลย ง.พันธะไฮโดรเจน ในโมเลกุลถูกทำลาย แต่พันธะเพปไทด์ไม่ถูกทำลาย
75.เฉลย 1. ไขมัน เพราะ   ไขมัน ช่วยให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย เพราะไขมันที่อยู่ใต้ผิวหนังจะช่วยป้องกันไม่ให้ความร้อนออกจากร่างและช่วยบรรเทาความหนาวจากภายนอกได้
76. เฉลย 1. จุดหลอมเหลวสูง   แข็งตัวง่ายเพราะ  กรดไขมันส่วนมากมีจำนวนคาร์บอนอะตอม C12 - C18 กรดไขมันไม่ละลายน้ำ กรดไขมันจะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงขึ้นตามจำนวนคาร์บอนอะตอมที่เพิ่มขึ้น และกรดไขมันอิ่มตัวมีจุดเดือดสูงกว่า กรดไขมันไม่อิ่มตัว ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ถ้าเป็นกรดไขมันอิ่มตัวมาก จะเป็นไขมัน
77. เฉลย ข้อ 3เพราะในไขมันมีหมู่แอลคอกซีคาร์บอนิล
78. เฉลย ค.โครงสร้างแบบร่างแห
79.  เฉลย  โปรตีนเส้นใย
80.เฉลย  ข้อ 4 เพราะน้ำมันน้ำมันดีเซลที่มีเลขซีเทนเท่ากับ 55 หมายถึงน้ำมันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับน้ำมันดีเซลที่มีซีเทน (CH3(CH2)14CH3) เป็นองค์ประกอบ 55 % และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 45 %
81. เฉลย .ตอบ ข้อ 1 ไอโซพรีน / ยางพารา
82. เฉลย ตอบข้อ ข้อ1การเจาะสำรวจเหตุผล เพราะการขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด
83. เฉลย ข้อ 3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
84. เฉลย ข้อ 1 เพราะจะเผาไหม้เพราะก๊าซคาณืบอนไดออกไซด์และน้ำได้ต้องเป็นสารอินทรีย์และเกิดการเผาไหม้แบบเผาไหม้สมบูรณ์
85. เฉลย คือ ข้อ 3 เพราะ ยางมะตอยส่วนใหญ่เป็นสารจำพวกไฮโดรคาร์บอนทำนองเดียวกับน้ำมันปิโตรเลียม แต่มีน้ำหนักโมเลกุลโดยเฉลี่ยสูงกว่า จะแข็งตัวในอุณหภูมิต่ำ อ่อนตัวหรือหลอมละลายในอุณหภูมิสูง
86.เฉลย 3. เพราะ ความหมายของเชื้อเพลิงไฮโดรเจนมีอยู่ว่าพลังงานไฮโดรเจน (Hydrogen, H2) ซึ่งถือได้ว่าเป็นพลังงานเชื้อเพลิงสำหรับการเผาไหม้ที่มีประสิทธิภาพสูง, สะอาด, และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้รับการคาดหมายและยอมรับว่าจะเป็นแหล่งของพลังงานเชื้อเพลิงที่สำคัญอย่างมากในอนาคต
87. เฉลย ข้อ 3. คาร์บอนมอนอกไซด์ เหตุผลก๊าซเรือนกระจกได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ , มีเทน , CFC และไนตรัสออกไซด์ซึ่งไนตรัสออกไซด์จัดเป็นออกไซด์ของไนโตรเจนชนิดหนึ่ง ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก คือ คาร์บอนมอนอกไซด์
88. เฉลย คำตอบ 4. ถ่านกัมมันต์ เพราะ เป็นถ่านที่ได้จากการนำไม้หรือกะลามะพร้าว มาเผาแล้วอัดด้วยความดัมสูง
89. เฉลย ข.น้ำมันดิบ
90. เฉลย  3. เพราะ  – สารประกอบเมอแคบแตน ใช้เป็นสารเติมกลิ่นในแก๊สหุงต้ม
– เมทิล เทอร์เทียรี บิวทิล อีเธอร์ (MTBE) ใช้ทดแทนสารตะกั่ว ในน้ำมัน เบนซิน
เพื่อช่วยให้การเผาไหม้ดีขึ้น  – เตตระเอทิลเลดใช้เติมในน้ำมันเบนซินเพื่อเป็นการเพิ่มค่าออกเทน ทำให้เชื้อเพลิงเผาไหม้ได้ดี– เอทานอล เป็นของเหลวไม่มีสีระเหยได้ไวไฟสูง เป็นแอลกอฮอล์ที่ได้จากการหมักพืชผลทางการเกษตร สามารถนำมาใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง
– เมทานอลเป็นของเหลวใส ระเหยง่ายเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการกลั่น ปิโตรเลียม สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในธรรมชาติ
91. เฉลยข้อ 2.3 ปิโตรเลียมมี 3 สถานะ ได้แก่ น้ำมันดิบ (Crude Oil) ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) และก๊าซธรรมชาติเหลว (Condensate) 1. น้ำมันดิบเป็นปิโตรเลียมที่มีสถานะเป็นของเหลว มีสีน้ำตาลถึงสีดำ มีค่าความหนาแน่นระหว่าง 0.79-0.95 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ภายใต้สภาพปกติที่ผิวโลก น้ำมันดิบมีปริมาณคาร์บอนร้อยละ 82.2-87.1 โดยน้ำหนัก ไฮโดรเจนร้อยละ 11.7 – 14.7 โดยน้ำหนัก ที่เหลืออีกประมาณร้อยละ 0.2 – 6.1 เป็นสารประกอบอื่นๆ ได้แก่ กำมะถัน ไนโตรเจน ออกซิเจนและน้ำเป็นต้น 2. ก๊าซธรรมชาติเป็นปิโตรเลียมที่มีสถานะเป็นก๊าซหรือไอ ประกอบด้วย ก๊าซมีเทน (CH4) เป็นส่วนใหญ่ และมีก๊าซอีเทน (C2H6) ก๊าซโพรเพน (C3H8) และก๊าซบิวเทน (C4H10) ปนอยู่บ้าง ก๊าซธรรมชาติบริสุทธิ์ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น อาจเกิดร่วมกับน้ำมันดิบหรือไม่ก็ได้ 3. ก๊าซธรรมชาติเหลวเป็นไฮโดรคาร์บอนในกลุ่มเดียวกับก๊าซธรรมชาติ แต่มีสถานะเป็นของเหลว โดยเมื่ออยู่ในแหล่งกักเก็บใต้ผิวโลก ซึ่งมีอุณหภูมิและความดันสูงจะมีสภาพเป็นก๊าซ และจะกลายสภาพเป็นของเหลว เมื่อขึ้นมาสู่พื้นผิวโลก – See
92. เฉลย: 1. แก๊สไฮโดรเจนติดไฟได้ง่ายเพราะการใช้แก๊สไฮโดรเจนอาจทำให้เกิดการระเบิดและเผาไหม้ได้ก่อให้เกิดความอันตราย จึงใช้แก๊สฮีเลียมที่ไม่ติดไฟแทน
93. เฉลย ค.เรยอน เพราะ เป็นเส้นใยที่ได้จากการนำสารจากธรรมชาติ มาปรับปรุงโครงสร้างให้เหมาะกับการใช้งาน เช่น การนำเซลลูโลสจากพืชมาทำปฏิกิริยากับสารเคมีบางชนิด เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ นำมาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าเส้นใยธรรมชาติ ตัวอย่างเส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เช่น วิสคอสเรยอง แบมเบอร์กเรยอง เป็นต้น
94. เฉลย ตอบข้อ 2.เพราะข้อ 1 ผิด เพราะ พอลิสไตรีน เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ แป้งและเซลลูโลส เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติข้อ 2 ถูก เพราะ โปรตีน พอลิไอโซพรีน และกรดนิวคลีอิก เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติข้อ 3 ผิด เพราะ พอลิเอทิลีน และ เทฟลอน เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ ส่วนยางพารา เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติข้อ 4 ผิด เพราะ ไกลโคเจน เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ ส่วนไขมัน ไม่ใช่พอลิเมอร์
95. เฉลย 2 เหตุผล ยางวัลคาไนซ์มีการเติมซัลเฟอร์เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ
96.เฉลย 1. มีอาหารโปรตีน
97. .เฉลย 4. แคลเซียมไอออนมีความสำคัญต่อการแข็งตัวของเลือด
98.เฉลย 1. Steroid  เพราะสตอรอยด์ไม่ได้ประกอบด้วยหน่วยย่อย ส่วนข้ออื่นๆมีหน่วยย่อย
99. .เฉลย  1.Hemoglobin และ Myoglobin  เพราะทำหน้าที่ก๊าชและมีธาตเหล็กเป็นองค์ประกอบ
100. .เฉลย  2. ใช้ในการหายใจ เพราะกลูโคสเป็นสารสำคัญในการเริ่มต้นของกระบวนการหายใจ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น